ReadyPlanet.com
dot
dot dot
dot
MAIN MENU
dot
bulletHome
bulletContact Us
bulletCompany Profile (Thai)
bulletCompany Profile (English)
dot
PARTNERSHIP
dot
bulletPartnership
dot
OUR SERVICES
dot
bulletOne Stop Conveyor Service
bulletBelt Splicing
bulletBelt Repair
bulletPulley lagging
bulletBelt Change Out
bulletCoveyor Preventive Maintenance
bulletInspection/ Commissioning
bulletVulcanizer Repair
bulletMaterial Handling Engineering Education Programs
dot
OUR PRODUCTS
dot
bulletRubber Belt Supply+PVC
bulletConveyor Accessories Supply
dot
TURN KEY CONVEYOR PROJECT
dot
bulletAEROBELT (Air Supported Belt) from South Africa
bulletConveyor Systems Supply
dot
PERFORMANCE GALLERY
dot
bulletBAN HOUAY XAI
bulletLAK SAO
bulletNPS ORANA
bulletPHU KHAM - CERAMIC LINING
bulletPHU KHAM - SPLICING
bulletREMA TIP TOP ( SRI LANKA PROJECT )
bulletTRAINING COURSE - NILOS
bulletTRAINING COURSE - TIP TOP
bulletCPAC
bulletAEROBELT
bulletTCB INSPECTION
bulletYALA GREEN POWER
bulletAGC-CULLET DISPOSAL
bulletได้รับรองมาตรฐานจาก EGAT
dot
CONVEYOR KNOWLEDGE STORE
dot
bulletBELT CLINIC
bulletConveyor Related Knowledge
bulletน้องใหม่อยากรู้
dot
TCB'S SERVICE INDUSTRIES
dot
bulletท่าเรือ / PORT
bulletอาหาร / FOOD
bulletเหล็ก / STEEL
bulletเหมืองแร่ / MINING
bulletปูนซีเมนต์ / CEMENT
bulletอุโมงค์ / UNDERGROUND
bulletโรงกระดาษ / PAPER PULP
bulletโรงไฟฟ้า / POWER PLANT
bulletปิโตเคมีกัล / PETROCHEMICAL
dot
STRATEGIC PARTNERS LINKS
dot
bulletRema Tip Top
dot
สมัครสมาชิก WE LOVE BELT

dot
dot
ความรู้ คู่สายพาน
dot
bullet1.Conveyor Belt Maintenance Product
bullet2.Belt Cleaner Systems
bullet3.Primary Belt Cleaners
bullet4.Secondary Belt Cleaners
bullet5.อุปกรณ์ ทำความสะอาด สายพาน ย้อนกลับ
bullet6.อย่างนี้มีหรือไม่ ! ระวังเรื่องใหญ่จะตามมา
bullet7.เสียดสี ขัดถู ตัด และเจาะ ป้องกันได้อย่างไร
bullet8.ประเภทของอุปกรณ์ปรับความตึง
bullet9.WHY MISALIGNMENT
bullet10.Discharging Area
bullet11.Preventive Maintenance
bullet12.ข้อดีของการทำ PM
bullet13.สูตรผีบอก หาความยาวของม้วนสวยพาน
bullet14.Take a Break
bullet15.รู้ไว้ ... ใช่ว่า
bullet16.พูลเลย์เล็ก – สายพานพัง – รอยต่อหลุดร่อน มันเกี่ยวกันอย่างไร
bullet17.Conveyor Adaptability to path of travel
bullet18.PULLEY LAGGING
bullet19.ประเภทของลูกกลิ้ง
bullet20.ประเภทของล้อขับ
bullet21.ลูกกลิ้งกับแรงม้า
bullet22.ลูกกลิ้งมีหน้าที่อะไร
bullet23.ผู้พิทักษ์ความสึกหรอของ Chute
bullet24.Rubber cover grade for oil service
bullet25.เลือกความหนาให้เหมาะสม
bullet26.สาเหตุและวิธีแก้สายพานส่าย
bullet27.สายพานเอียงข้างหนึ่งประจำ
bullet28.ข้อจำกัดของ Conveyor Belt
bullet29.ความตึงสายพานที่เหมาะสม
bullet30.คุณสมบัติพิเศษของผิวยาง
bullet31.แก้ไขสายพานเกเร
bullet32.วิธีการเลือกจำนวนชั้นผ้าใบ
bullet33.General Type of Idler
bullet34.Heat Resistance Belt
bullet35.การลาก ดึง ม้วนเก็บสายพาน
bullet36.อุณหภูมิที่เหมาะกับสายพาน
bullet37.สาเหตุที่รอยต่อหลุด
bullet38.ข้อดีของการต่อร้อน
bullet39.การต่อสายพาน
bullet40.Belt Splicing
bullet41.งานเปลี่ยนสายพาน
bullet42.Belt change out
bullet43.การเลือกสายพาน
bullet44.การเรียกชื่อสายพาน
bullet45.Belt Repair
bullet46.ระบบลำเลียงถ่านหิน 1
bullet47.ระบบลำเลียงถ่านหิน 2
bullet48.สายพานลำเลียงไฮ-เทค
bullet49.ไฟไหม้ สายพาน 1
bullet50.ไฟไหม้ สายพาน 2
bullet51.ไฟไหม้ สายพาน 3
bullet52.ไฟไหม้ สายพาน 4
bullet53.ศัพท์น่ารู้ 1
bullet54.ศัพท์น่ารู้ 2
bullet55.Belt Take Up
bullet56.ขั้นตอนการต่อสายพาน
bullet57.ป้องกันการเสียดสี
bullet58.สายพานลื่น
bullet59.สายพานตกท้องช้าง
bullet60.สายพานยืด
bullet61.ใครอยากได้ S-Belt มาทางนี้เร็ว
bullet62.ปัญหาของ S-Belt สาเหตุและการแก้ไข
bullet63.สายพานลำเลียงไฮ-เทค
bullet64.belt supply
bullet65.บริการสต๊อกสายพานสำหรับท่าน
bullet66.การระบุ SPEC เพื่อสั่งซื้อ Belt
bullet67.มืออาชีพของการต่อสายพาน
bullet68.Flexibelt
bullet69.Our Products
bullet70.กาว ยาง
bullet71.อยากเปลี่ยนสายพาน Steel cord เป็นสายพานผ้าใบได้หรือไม่
bullet72.ใครใช้สายพานทนร้อนต้อง...อ่านตรงนี้
bullet73.รอบรู้เรื่องสายพาน ในหน่วย SI และ METRIC
bullet74.ส่วนประกอบ Sidewall Belt
bullet75.Advent Age of Sidewall Belt
bullet76.การเลือก Sidewall และ Cleat
bullet77. เลือกสายพานชนิด Molded Edge หรือ Cut Edge ดี??!!
bullet78. ถูก แพง ให้ดูที่เกรดสายพาน
bullet79.เปลี่ยนกระพ้อปฏิบัติ 2 วันครึ่ง
bullet80.ใครอยากได้รายงานดีๆมาทางนี้
bullet81.มาดูรายงานต่อร้อนดีดีกันดีกว่า
bullet82.ไม่ต้องชั่ง ก็รู้น้ำหนัก (สายพาน)
bullet83.Pulley lagging
bullet84.เลือกเกรดสายพาน
bullet85.อุปกรณ์ขนถ่าย
bullet86.อุปกรณ์ขนถ่าย 2
bullet87.อุปกรณ์ขนถ่าย 3
bullet88.อุปกรณ์ขนถ่าย 4
bullet89.สายพานลำเลียงหินปูนย่อย
bullet90. สูตรการหาปริมาณการขนถ่าย
bullet91.ทนร้อน สุดๆ อีกแล้วครับท่าน !
bullet92.IMPACT BED
bullet93.มหัศจรรย์กาวเรซิน ELI-FLEX
bullet94.ติด-ปะ-ซ่อม สารพัด
bullet95.กระพ้อ...กำจัดจุดอ่อน...ที่รอยต่อ
bullet96.เลือกความหนาของสายพานอย่างไร ?
bullet97 ซ่อมยาง ลายดอก
bullet98.เชื้อเพลิงชีวมวล - ลูกกลิ้ง - สายพาน
bullet99.จ่ายเป็นล้าน "เพราะสายพานยืด"
bullet100.มาเล่น Sidewall Belt กันดีกว่า
bullet101.Conveyor ขนถ่ายวัสดุหลายชนิด-หลายขนาด
bullet102.เรื่องราวเกี่ยวกับ Ship loader
bullet103.PORTABLE CONVEYOR
bullet104.อุปกรณ์ทำความสะอาดช่วยประหยัดเงินได้แค่ไหน ?
bullet105.อุปกรณ์ทำความสะอาดสายพานกับพลังงานที่เพิ่มขึ้น
bullet106.ทำไมถึงจำเป็นต้องติดอุปกรณ์ทำความสะอาด
bullet107.ติดตั้งอุปกรณ์ทำความสะอาดสายพานดีไหม ?
bullet108.การติดตั้ง Pre-Cleaner (Pre – cleaner Installation)
bullet109.ใบปาด(ยาง)ยาง และ ใบปาด(เหล็ก) อย่างไหนดีกว่ากัน
bullet110.แรงกดที่ อุปกรณ์ทำความสะอาด ควรมีค่าเท่าใด?
bullet111.ชั้นผ้าใบ อะไรๆก็ EP เอ๊ะ ยังไงกันนี่
bullet112.วิธีการคลี่สายพานมาพับไว้ในที่แคบๆก่อนทำการลากดึง
bullet113.Case Study of Belt Splicing
bullet114.เหลือเชื่อ Motor Tip
bulletUNIONE
dot
ตัวอย่าง Report
dot


โรงไฟฟ้า / POWER PLANT

   โรงไฟฟ้าพลังถ่านหิน (coal-fired Powed Plant)

 


 


 


 

 

วันนี้ 19 มิถุนายน 2520 ในตอนที่ 1 นาย TBC ได้รับท่านเรื่องการใช้ระบบลำเลียงแบบอัดอากาศ (Aerobelt) เพื่อลำเลียงถ่านหินสำหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงเริ่มต้นในการผลิตกระแสไฟฟ้า นาย TBC รับใช้ไปว่าหากโครงของระบบสายพานต้องถูกแสงแดดส่องด้านเดียวเป็นเวลานาน โครงสายพานนั้นจะเกิดการเสียรูปได้ ซึ่งจะเป็นผลทำให้ระบบลำเลียงมักมีปปัญหาขณะทำงานได้ กล่าวคือ โครงสร้างสายพานจะงอเป็นเส้นโค้งเนื่องจากโครงสร้างส่วนที่ถูกแสงแดดส่อง จะเกิดการขยายตัวมากกว่าข้างที่อยู่ตรงข้างที่ไม่ถูกแดด ดังนั้นจึงควรมีการออกแบบให้มีระยะเผื่อไว้สำหรับการยืด-หด ตัวของเหล็กโครงสร้างไว้ด้วย การออกแบบโดยใช้ Belt & Nut ยึดโครงสร้าง จะมีความยืดหยุ่นและช่วยผ่อนคลายปัญหานั้นได้ดีกว่าการใช้วิธีเชื่อมแบบติดตายตัว

 

 ไหนๆ ก็เขียนมาถึงเรื่องโครงไฟฟ้ากันแล้ว นาย TBC ก็เลยจะขอรับใช้ท่าน โดยนำเสนอความรู้พื้นฐานเล็กๆ น้อยๆ เรื่องโรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงเป็นเกร็ดความรู้ให้ท่านผู้มีอุปการคุณได้เข้าใจสักหน่อยว่า "ถ่านหินสามารถปั่นไฟได้อย่างไร"

 

 ประเทศไทยเราเอง มันโยบายใน...........รับซื้อไฟฟ้าจากเอกชนทั้งจาก IPP (Indedpendent Power Producer ) และ SPP (Small Power Produce) เพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงานให้แก่ประเทศ ทั้ง IPP และ SPP ก็พยายามทีจะนำพลังงานราคาถูกมาใช้เพื่อปั่นกระแสไฟฟ้า ถ่านหินจึงเป็นทางเลือกอันดับต้นๆ ที่ได้รับการพิจารณา เนื่องจากมีราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงประเภทอื่นๆ ดังนั้นเมื่อได้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงเริ่มต้นแล้ว เราก็ต้องมาทำความเข้าใจกับระบบการทำงาน (Process) ของมันว่าเริ่มต้นจากไหนแล้วผ่านขั้นตอนการทำงานอะไรบ้าง จนกระทั้งออกมาเป็นกระแสไฟฟ้าให้เราได้ใช้กันอย่างสะดวกสบายอยู่ทุกวันนี้

 

    ขอให้ท่านดูรูปที่นำมาประกอบคู่ควบกันไปด้วยเพื่อที่จะเข้าใจได้ง่ายขึ้น ขบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง มีขั้นตอนการดำเนินงานต่อไปนี้


 

    ขั้นตอนที่ 1 การขนส่งถ่านหิน โรงไฟฟ้าส่วนมากจะเลือกสถานที่ก่อสร้าง ที่ใกล้แม่น้ำหรือทะเล เนื่องจากสามารถนำถ่านหินสู่โรงงานได้โดยทางน้ำซึ่งประหยัดค่าขนส่งถ่านหินโดยมาก(ทางรถยนต์) และอีกประการหนึ่งคือ โรงงานผลิตไฟฟ้าต้องการน้ำสำหรับระบายความร้อนให้ไอน้ำที่ผ่านกระบวนการปั่นกระแสไฟฟ้าแล้ว เพื่อนำน้ำมาหมุนเวียนใช้ในรับบต่อไป


 

   ขั้นตอนที่ 2 และ 3 ถ่านหินที่ขนส่งลงมาจากเรือ อาจจะทำการกองเก็บไว้บนพื้นดิน (2) หรือเก็บไว้ที่โกดัง (3) โดยระบบสายพานลำเลียง หรือระบบวิธีอื่นๆ ตามความเหมาะสม


 

   ขั้นตอนที่ 4 นำถ่านหินขึ้นสู่ Transfer house โดยระบบสายพานลำเลียง ณ สถานที่แห่งนี้ ถ่านหินจะถูกทำให้เป็นเม็ดเล็กลง ขนาดประมาณ 3ส่วน 4 นิ้ว ก่อนที่จะถูกส่งขึ้นไปบนไซโล


 

   ขั้นตอนที่ 5 ป้อนถ่านสู่ไซโล ถ่านหินจะถูกส่งจาก Trausfer house เข้าสู่ไซโล โดยระบบสายพานลำเลียง ปริมาณถ่านหิน 800 ต้น/ชั่วโมง จะถูกลำเลียงและป้อนเข้าสู่ตัวบดถ่านหิน ให้เป็นเม็ดเล็กลงไปอีก ให้ได้ขนาดประมาณ 1 ส่วน 4 นิ้ว หรือเล็กกว่านั้นอีก เพื่อให้ง่ายต่อการเผาไหม้

น้ำใน boiler


 

    ขั้นตอนที่ 7 น้ำจำนวนมากใน boiler จะกลายเป็นไอที่ความร้อนสูงประมาณ 540 องศาเซลเซียส และมีความดันประมาณ 2400 PSI ไอน้ำที่มีความดันสูงนี้จะอัดตัวกันอยู่ภายในท่อ ซึ่งต่อมายัง Turbine

    ขั้นตอนที่ 8 พัดลมพลังสูงจะเป่าอากาสเข้าสู่ boiler เพื่อให้เกิดการเผาไหม้ที่ดีจะสมบูรณ์ยิ่งขึ้น


 

    ขั้นตอนที่ 9 ไอน้ำมีความอัดถึง 2400 PSI ก็จะไปขับใบพัดของ Turbine ให้หมุนถึงประมาณ 3600 RPM


 

    ขั้นตอนที่ 10 Turbine ซึ่งต่ออยู่กับ Generator (เครื่องกำเนินไฟฟ้า) จะผลิตกระแสไฟฟ้าสลับ ที่

มีความดันไฟฟ้าที่ประมาณ 20000-24000 Volts


 

    ขั้นตอนที่ 11 กระแสไฟฟ้าจะถูกส่งไปยังหม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) เพื่อที่จะเพิ่มแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้นถึง 230000 Volts จากนั้นกระแสไฟฟ้าจะถูกส่งไปยัง Sub station

    ขั้นตอนที่ 12 จาก Sub station กระแสไฟฟ้จะถูกส่งไปยังสายส่งแรงสูง (high-volrage trausmission line) เพื่อส่งไปยังผู้ใช้ไฟฟ้าต่อไป


 

    กลับมายังระบบกำจัดของเสียบ้าง

    ขั้นตอนที่ 13 พัดลมขนาดยักษ์ จะดูดของเสียเพื่อจะนำไปปล่อยที่ปลายปล่องควัน


 

    ขั้นตอนที่ 14 ของเสียที่เกิดจากการผาไหม้ (ของเสียที่เกิดจากการเผาไหม้ประกอบด้วย CO2 , SO2 , NOx , ash , slag , gypsum) จากการเผาไหม้จะถูกกำจัดโดย electrosrtatic precipitators ณ จุดนี้ผงเถ้าละเอียด (fine ash) ถึง 99% จะถูกกำจัดที่จุดเช่นกัน


 

    ขั้นตอนที่ 15 ผงเถ้าละเอียดที่ถูกกำจัดแล้ว จะถูกรวบรวมไว้ที่เก็บผงเถ้า (Ash silo) เพื่อที่จะนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป


 

    ขั้นตอนที่ 16 การกำจัดอากาสเสียที่หลงเหลือจากการกำจัดในครั้งแรก โดยการปล่อยอากาสเสียผ่านปล่องควันในระดับสูงเพื่อทำให้อากาสเสีย เจือจางสมารถแพร่ไปได้ในบริเวณกว้าง


 

    ขั้นตอนที่ 17 การติดตั้งระบบตรวจสอบปริมาณของเสียที่ปล่อยออกมาผ่านปล่องควัน โดยการติดอุปกรณ์ติดตามผลภายในปล่องควัน เพื่อให้แน่ใจว่าของเสียที่ปล่อยออกมา จะไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากมาตราฐานที่กำหนดไว้


 

    ขั้นตอนที่ 18 ติดตั้งระบบระบายความร้อน โดยสร้างบ่อกักเก็บน้ำเพื่อสูบน้ำเข้าไประบายความร้อนในไอน้ำ เพื่อให้ไอน้ำเปลี่ยนสถานะเป็นหยดน้ำ น้ำที่ใช้ระบายความร้อนนี้ ก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำสาธารณะต้องมีอุณหภูมิที่ไม่เกินตามที่กำหนดไว้ เพื่อไม่ให้กระทบต่อสิ่งแวดล้อม


 

    ขั้นตอนที่ 19 ไอน้ำที่ออกจาก Tusbrne จะมีความดันต่ำลงจะมีความดันต่ำลงจะไหลผ่าน Condenser และเปลี่ยนสภาพเป็นน้ำเพื่อจะนำกลับมาใช้ได้อีกครั้งหนึ่ง


 

    ขั้นตอนที่ 20 น้ำที่ใช้สำหรับหล่อเย็นในข้อ 18 เป็นตะกรัน เมื่อใช้หลายๆ ครั้งจะมีความเข้มข้นของสารลอยแขวนต่างๆ มากขึ้น สารพวกนี้จะไปเกาะอยู่ภายในท่อระบายความร้อนทำความสามารถระบายความร้อนต่ำลง ดังนั้นจึงมีการติดตั้งระบบแยกสารลอยแขวน (miniral content) ต่างๆ ในน้ำให้ออกเสียก่อน ก่อนที่จะให้น้ำไหลเข้าสู้ระบบต่อไป

 

    ก่อนจบบทความตอนนี้ นาย TBC ต้องกราบขออภัยท่านผู้อ่านด้วยที่นาย TBC ออกนอกเรื่องกล่าวพาดพิงถึงเรื่องอื่นมากไปจนจบตอน โดยมิได้กล่าวถึงเรื่องของระบบลำเลียงเลย ที่เป็นเช่นนี้เพราะอารมณ์มันหายไป เนื่องจากนาย TBC เพิ่งยืนใบเสนอราคาระบบลำเลียงถ่านหินขึ้น ขึ้นไปเก็บไว้ในบนไล ของโรงไฟฟ้า SPPแห่งหนึ่ง ก็เลยพอมีข้อมูลเกี่ยกับเรื่องโรงไฟฟ้ามาเล่าให้กันฟัง ถือว่ามันเกี่ยวเนื่องก็แล้วกันนะครับ สำหรับตัวเลขต่างๆ ที่ปรากฎอยู่ในบทความชิ้นนี้ อย่าถือว่าเป็นตัวเลขที่แท้จริงนะครับ นาย TBC ใส่ตัวเลขเข้าไปเพื่อให้ท่านสามารถจิตนาการ เข้าใจระบบการทำงานของโรงงานไฟฟ้าถ่านหินง่ายขึ้นเท่านั้นเอง แต่ตัวเลขที่เห็นก็ไม่ได้ผิดไปจากข้อเท็จจริงทั่วไปมากมายนัก เอาว่ายังพอใช้ง่านได้ว่างั้นเถอะ ส่วนตัวเลขที่เกี่ยวกับระบบสายพานลำเลียงต่อไปนี้เป็นข้อมูลจริงในการออกแบบ สำหรับโรงไฟฟ้าขนาด 115 ตอบครับ


Design  Information Used for Coal Handling System

 

Material                     Coal

Bulk  density               0.8 t/m.......

Capacity                    800 t/hr.

Belt width                  900 mm (Conveying Belt)

Belt width                  1050 mm (feeder Belt-revesible)

Drive Power                45 km (for conveying Belt)

Drive Power                11 km (for feedder Belt-revesible)

Belt Speed                  3.2 m/sec

    

    บทความชิ้นต่อไป ตั้งใจจะนำเสนอท่านเรื่อง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับระบบสายพานลำเลียงแบบอัดอากาศ (Aerobelt) ใครสนใจเรียบยกมือขึ้นเป็นกำลังใจให้นาย TBC หน่อยครับ สวัสดี

********************************************

 

 

 

 

 

 







Contact Address:599/10-11b M.4,T.Surasak,A.Siracha,Chonburi 20110 Office Tel+66(3)831-0851 E-Mail tcb@thaiconveyorbelt.com