วันที่ 26 พฤศจิกายน 2550 ความรู้เรื่องศัพท์ ด้านเทคนิคเกี่ยวกับสายาพานนับว่าทำความกลัดกลุ้มปวดเศียรเวียนกล้าให้กับผู้คนที่ไม่ค่อยคุ้นเคยได้มากทีเดียว ดังนั้นวันนี้ AV ก็เลยมีความคิดที่จะนำ เรื่องศัพท์เทคนิคบางตัวที่มีความสำคัญๆ ที่น่ารู้สัก 2-3 เรื่องมาฝากแฟนคลับ น่าจะเข้าท่าจริงมั้ยคะแฟนคลับช่วยดูตารางข้างล่างประกอบด้วยนะค่ะ เพื่อความเข้าใจได้ง่ายขึ้น
ตารางที่ 1
เรื่องความแข็งแรงของสายพาน (Tensile Strength) ชั้นผ้าใบ (Tension Fabric) ของสายพาน
เรื่องที่ AV อยากจะเน้นในบทความนี้ก็คือ ความแข็งแรงของสายพาน (หรือในตารางข้างบนเรียกว่า ความต้านทานแรงดึงตามแนวยาวของสายพาน เรียกยังไงๆ มันก็ Same ๆ แป๊ะเอี่ยเหมือนๆกันนั้นแหละ) ในตารางนี้มีหน่วยเป็น N/mm หรือเขียนเต็ม ๆ ว่า Newton/millimeter ตามมาตรา SI
ตาราง 2
คราวนี้กลับมายัง วิธีการเขียน Spec สั่งซื้อสายพานที่เห็นอยู่นี้ เขาบอกว่า Tensile strength of belt 315/4 (KN/m) หมายความว่า สายพานเส้นนี้มีความแข็งแรงทั้งสิ้น 315 kilo Newton/meter โดยมีชั้นผ้าใบ 4 ชั้น ถ้าเราจะสั้งซื้อสายพานโดยดูข้อมูลจากตาราง 1 ข้างบน เราต้องเปลี่ยนหน่วย จาก KN/m เป็น N/mm ซึ่งก็ไม่มีอะไรซับซ้อนเพราะ 1 KN/m = 1 N/mm พอดีๆ ดังนั้นกรณีนี้เราอาจจะเลือกสายพานได้ EP 400/4 หรือได้ EP 100 ชั้นผ้าใบทั้งหมด 4 ชั้น
สรุปหากอยากจะเปลี่ยนหน่วยความแข็งแรง (Tensile strength) ระหว่างหน่วย SI กับหน่วย Metric ก็ดูข้างล่างนี้ก็แล้วกัน
1 N/mm² = 10 kg/cm²
ตาราง 3
หรือถ้าใช้ตามตารางนี้ก็สามารถเลือกได้ตรงตัว-ชัดเจนเลย นอกจากนี้การมีความรู้เรื่องหน่วย SI และหน่วย Metric ยังมีประโยชน์ สำหรับเปลี่ยน/เปรียบเทียบหน่วยที่ใช้สำหรับเลือกจำนวนชั้นของ EP คุณสมบัติของผิวยางอีกด้วย
ตารางข้างล่างนี้ นำมาจาก Brochure ของผู้ผลิตสายพานในประทศไทย เจ้าหนึ่ง ซึ่งเอาทั้งหน่วย SI และหน่วย Metric มาประสมปนเปในตารางเดียวกันจะเห็นว่าในตารางก็เล่นค่า tensile strength ของผิวสายพานทั้งหน่วย SI (N/mm²) และหน่วยเมตริก (kg/cm²) ผสมปนเปกันไปหมด ซึ่งอาจจะเป็นเจตนาที่ดีให้ผู้ใช้งานได้คุ้นเคยหลายๆระบบตอนแรกๆ AV ก็มึนตึบไปเลยแต่พอได้หลักเปลี่ยนค่า เปลี่ยนหน่วยเปลี่ยนไปเปลี่ยนมามันก็ same ๆ เหมือนเดิมนั่นแหละค่ะ ทำไมไม่ทำให้เป็นหน่วยเดียวกันทั้งระบบ ให้มันรู้แล้วรู้รอดเป็นหน่วย SIไปซ่ะเลยก็ไม่รู้
เรื่องที่ 2 คือเรื่องของกำลังขับของระบลำเลียง ซึ่งสมัยก่อนเรามักจะได้ยินว่า กำลังขับมีเท่ากับกี่กำลังม้า (HP) แต่ในปัจจุบัน กำลังขับได้นิยมมาใช้ในหน่วย SI โดยมีหน่วยว่า " Kw. " หรือ kilowatt ความสัมพันธ์ระหว่าง kw และ HP มีดังนี้ค่ะ
1 kw = 1.36 HP
เป็นยังงัยบางค่ะ แฟนคลับที่น่ารักทุกๆ ท่าน คงได้รับประโยชน์พอสมควร AV คิดว่ายังคงมีเรื่องเทคนิคเกี่ยวกับการเปลี่ยนหน่วย ซึ่ง AV ยังคิดไม่ออกว่ามีเรื่องอะไรบ้างเกี่ยวกับระบบ SI ที่มันเกี่ยวเนื่องกับสายพาน ถ้าแฟนคลับอยากรู้เรื่องอะไรเพิ่มเติมก็ E-Mail เข้ามาเลยนะคะ AV ยินดีรับใช้ค่ะ
ก่อนจะจากกันไปใบบทความนี้ เพื่อไม่ให้แฟนคลับเสียโอกาส AV ก็เลยถือโอกาสเอาแฟกเตอร์การเปลี่ยนหน่วย (Conversion factor) ระหว่างมาตรา SI และมาตราอังกฤษมาให้แฟนคลับใช้ประโยชน์ถ้าต้องการเปลี่ยนหน่วย หรืออยากจะเปรียบเทียบระหว่างมาตราทั้งสองค่ะ เชิญทัศนาข้างล่างนี้ได้เลยค่ะ AV ลาไปก่อนนะค่ะ
สาระน่ารูเกี่ยวกับการใชหนวย SI
ระบบของมาตรา (System of Unit)
ปจจุบันในทางวิศวกรรมนิยมใชมาตรา SI (System International Unit) แทนมาตราอื่นที่ใชมานาน เชน มาตราอังกฤษ (English Units) หรือมาตราตามนิยมของสหรัฐ (U.S. Customary System) ทั้งแบบ 1 และแบบ 2 (Type I & Type II) หรือแมกระทั่ง cgs ซึ่งเปนมาตราในระบบเมตริก (Metric System) เชนเดียวกับ SI ก็ตาม ผูเขียนพยายามจะใชมาตรา SI เปนหลักในหนังสือนี้ แตจากประสบการณการสอนพบวายังมีหนังสืออางอิงหลายเลมและบรรณาสารประกอบความรูทางวิทยาศาสตรแขนงตาง ๆ อีกมากที่ยังอางอิงกับมาตราอังกฤษหรือผสมผสานกับมาตราอื่น ๆ อยูเสมอ อีกทั้งการที่ผูเรียนสามารถเขาใจและใชมาตราตางๆไดคลองแคลวจะเปนประโยชนกวาการรูจักเพียงมาตราเดียว ดังนั้นถึงแมจะมีการทบทวนเกี่ยวกับมาตรา SI ใหในตอนตนของหนังสือแตมิใชจะใชมาตรา SI เปนหลัก เพราะจะมีการสอดแทรกใชมาตราแตกตางกันตามตัวอยางและแบบฝกหัดตางๆ เพื่อใหผูศึกษามีความเขาใจทฤษฎีต่างๆไดงายและกวางขวางยิ่งขึ้น ตารางที่ 1.1 แสดงการเปรียบเทียบหนวยหลัก (Primary Units) ที่ใชในมาตราตาง ๆ กับหนวยหลักที่ใชในหนวย SI มาตราเมตริก (Metric System)
หนวย cgs (centimeter-gram-second)
|
หนวยหลักของ cgs
|
มวล (Mass)
|
กรัม (g)
|
มวล (Mass)
|
กิโลกรัม (Kg)
|
ความยาว (Length)
|
เซนติเมตร (cm)
|
ความยาว (Length)
|
เมตร (m)
|
เวลา (Time)
|
วินาที (s)
|
เวลา (Time)
|
วินาที (s)
|
แรง (Force)
|
dyne (dyn)
|
แรง (Force)
|
นิวตัน (N)
|
อุณหภูมิ (Temp)
|
องศาเคลวิน ( ํ K)
|
อุณหภูมิ (Temp)
|
องศาเคลวิน ( ํ K)
|
|
|
|
|
|
มวล (Mass)
|
ปอนด (มวล) (lbm)
|
มวล (Mass)
|
Slug (Slug)
|
ความยาว (Length)
|
ฟุต (ft)
|
ความยาว (Length)
|
ฟุต (ft)
|
เวลา (Time)
|
วินาที (s)
|
เวลา (Time)
|
วินาที (s)
|
แรง (Force)
|
ปอนด (แรง) (lbf)
|
แรง (Force)
|
ปอนด (แรง) (lbf)
|
อุณหภูมิ (Temp)
|
องศาแรงคีน ( ํ R)
|
อุณหภูมิ (Temp)
|
องศาแรงคีน ( ํ R)
|
ตารางที่ 1.1 หน่วยหลักที่ใช้ในมาตราต่าง ๆ
มาตรา SI
ในวิชาเกี่ยวกับเรือแต่ดั้งเดิมนิยมใช้มาตราอังกฤษเป็นหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ดังนั้นจึงขอแนะนําเกี่ยวกับมาตรา SI พอสังเขป และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างหน่วยในมาตรา SI กับอังกฤษ ส่วนหน่วยอื่น ๆ สามารถแปลงได้จากการใช้ข้อมูลในตารางที่ 1.2 เพื่อให้สอดคล้องกับหน่วยเฉพาะต่าง ๆ ดังในตารางที่ 1.1
เป็นที่รู้กันดีว่ามาตรา SI มีข้อแตกต่างสําคัญจากมาตราอังกฤษ คือ SI เป็นมาตราชนิด Mass Units แทนที่จะเป็น Weight (Force) Units เช่นมาตราอังกฤษ โดยมีหน่วยหลัก (Primary Units) เป็นดังในตารางต่อไปนี
ปริมาณ
Quantity
|
ชื่อเรียก
Name of Unit
|
สัญลักษณของหนวย
Unit Symbol
|
ความยาว (Length)
|
เมตร (Meter)
|
m
|
มวล (Mass)
|
กิโลกรัม (Kilogram)
|
Kg
|
เวลา (Time)
|
วินาที (Second)
|
s
|
กระแสไฟฟา (Electric current)
|
แอมแปร (Ampere)
|
A
|
อุณหภูมิ (Temperature)
|
องศาเคลวิน (Degree Kelvin)
|
ํ K
|
ความเขมแสง (Luminous intensity)
|
แรงเทียน (Candela)
|
cd
|
ปริมาณมวลสาร( Amount of substance)
|
โมล (Mole)
|
mol
|
มุมเชิงระนาบ (Plane angle)
|
เรเดียน (Rradian)
|
rad
|
มุม Sold Angle
|
สเตอเรเตียน (Steradian)
|
sr
|
ปริมาณต่าง ๆ จากหน่วยหลักสามารถรวมกันเป็นหน่วยอนุพันธ์หลักของมาตรา SI (Derived SI units)
ที่สําคัญดังนี้
หนวยวัด
|
ชื่อในมาตรา SI
|
สัญลักษณที่ใช
|
แรง (Force)
|
นิวตัน (Newton)
|
N = kg.m/s2
|
งาน, พลังงาน (Work, Energy)
|
จูลย (Joule)
|
J = N.m
|
กําลัง (Power)
|
วัตต (Watt)
|
W = J/s
|
ประจุไฟฟา (Electric charge)
|
คูลอมบ (Coulomb)
|
C = A.s
|
ความตางศักย (Electric potential)
|
โวลต (Volt)
|
V = W/A
|
ความจุไฟฟา (Electric capacitance)
|
ฟาราด (Farad)
|
F = A.s/v
|
ความตานทานไฟฟา (Electric resistance)
|
โอหม (Ohm)
|
Ω = V/A
|
ความถี่ (Frequency)
|
เฮิทซ (Hertz)
|
Hz = S-1
|
ความสวาง (Luminance)
|
ลักซ (Lux)
|
lx = lm/m2
|
ความเหนี่ยวนํา (Self inductance)
|
เฮนรี่ (Henry)
|
H = V.s/A
|
ความเขมสองสวาง (Luminous flux)
|
ลูเมน (Lumen)
|
lm = cd.sr
|
กําลังดัน, ความเคน (Pressure, Stress)
|
ปาสคาล (Pascal)
|
Pa = N/m2
|
|
บาร (Bar)
|
bar = 105 Pa
|
ฉนวนไฟฟา (Electrical conductance)
|
ซีเมนส (Siemens)
|
S = 1/Ω
|
ความเขมสนามแมเหล็ก (Magnetic flux)
|
เวเบอร (Weber)
|
Wb = V.S
|
ความหนาแนนสนามแมเหล็ก (Magnetic flux density)
|
เทสลา (Tesla)
|
T = Wb/m2
|
นอกจากหน่วยหลักและหน่วยอนุพันธ์หลักดังในตารางข้างต้นแล้ว ยังมีหน่วยอนุพันธ์อื่น ๆ ที่มักให้เสมอ ๆ คือ
หนวยวัด
|
หนวยที่ใชใน SI
|
สัญลักษณที่ใช
|
พื้นที่ (Area)
|
ตารางเมตร
|
m2
|
ปริมาตร (Volume)
|
ลูกบาศกเมตร
|
m3
|
ความหนาแนนมวล (Mass density)
|
กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร
|
kg/m3
|
ความเร็ว (Velocity)
|
เมตร/วินาที
|
m/s
|
ความเร็งเชิงมุม (Angular velocity)
|
เรเดียน/วินาที
|
rad/s
|
ความเรง (Acceleration)
|
เมตร/วินาที2
|
m/s2
|
ความเรงเชิงมุม (Angular acceleration)
|
เรเดียน/วินาที2
|
rad/s2
|
กําลังดัน, ความเคน (Pressure, Stress)
|
นิวตัน/ตารางเมตร
|
N/m2
|
ความตึงผิว (Surface tension)
|
นิวตัน/เมตร
|
N/m
|
ความหนืดจลน (Dynamic viscosity)
|
นิวตัน.วินาที/เมตร2
|
N.s/m2
|
ความหนืดไคเนเมติค (Kinematics viscosity)
|
เมตร2/วินาที
|
m2/s
|
การเหนี่ยวนําความรอน (Thermal conductivity)
|
วัตต/เมตร/องศาเคลวิน
|
w/(m ํ.k)
|
ตารางต่อไปนี้ใช้เปรียบเทียบค่าของหน่วยวัดที่ตรงกันระหว่างมาตรา SI กับ มาตราอังกฤษ ในลักษณะที่เป็นแฟกเตอร์การแปลงหน่วย (Conversion factor) คือ
ตารางที่ 1.2
หนวยวัด
|
มาตราอังกฤษ
|
มาตรา SI
|
ความยาว
|
1 นิ้ว (inch)
|
0.0254 เมตร (m)
|
|
1 ฟุต (ft)
|
0.3048 เมตร (m)
|
|
1 หลา (yd)
|
0.9144 เมตร (m)
|
|
1 ไมล (mile)
|
1609.344 เมตร (m)
|
|
1 ไมลทะเล (อังกฤษ)
|
1853.18 เมตร (m)
|
|
1 ไมลทะเล (สากล)
|
1852 เมตร (m)
|
|
|
|
พื้นที่
|
1 นิ้ว2 (in2)
|
6.45.16 x 10-6 เมตร2 (m2)
|
|
1 ฟุต2 (ft2)
|
0.092903 เมตร2 (m2)
|
|
1 หลา2 (yd2)
|
0.836127 เมตร2 (m2)
|
|
1 ไมล2 (mile2)
|
2.58999 x 106 เมตร2 (m2)
|
|
|
|
ปริมาตร
|
1 นิ้ว3 (in3)
|
16.3871 x 10-6 เมตร3 (M3)
|
|
1 ฟุต3 (ft3)
|
0.0283168 เมตร3 (M3)
|
|
1 แกลลอน (อังกฤษ) (UK-gal)
|
0.004546092 เมตร3 (M3)
|
|
|
4.546092 ลิตร (liters)
|
|
1 แกลลอน (US) (US-gal)
|
0.0037854 เมตร3 (M3)
|
|
|
|
ความเร็ว
|
1 ฟุต/วินาที (ft/s)
|
0.3048 เมตร/วินาที (m/s)
|
|
1 ไมล/ช.ม. (mile/hr)
|
0.44704 เมตร/วินาที (m/s)
|
|
1 ไมลทะเล/ช.ม.,Knot (อังกฤษ)
|
0.51477 เมตร/วินาที (m/s)
|
|
1 ไมลทะเล/ช.ม.,Knot (สากล)
|
0.51444 เมตร/วินาที (m/s)
|
|
|
|
อัตราเรงจากความโนมถวง
|
g = 32.174 ฟุต/วินาที2 (ft/s2)
|
g = 9.80665 เมตร/วินาที2 (m/s2)
|
|
|
|
มวล
|
1 ปอนด (lbm)
|
0.45359237 กิโลกรัม (kg)
|
|
1 slug (lbm.s2/ft)
|
14.594 กิโลกรัม (kg)
|
|
1 ตันน้ำหนัก (ton)
|
1016.05 ตันมวล (tone)
|
|
|
|
ความหนาแนนมวล
|
1 ปอนด/นิ้ว3 (lbm/in3)
|
27.6799 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 (kg/m3)
|
|
1 ปอนด/ฟุต3 (lbm/ft3)
|
16.0185 กิโลกรัม/เมตร3 (kg/m3)
|
|
|
|
แรง
|
1 เพาเดิ้ล (pdl)
|
0.138255 นิวตัน (N)
|
|
1 ปอนด (แรง) (lbf)
|
4.44822 นิวตัน (N)
|
|
|
|
กําลังดัน, ความเคน
|
1 ปอนด (แรง)/นิ้ว2 (lbf/in2)
|
6894.76 N/m2
|
|
1 ตัน (แรง)/นิ้ว2 (tonf/in2)
|
15.4433 x 106 นิวตัน/เมตร2
(N/m2หรือ MPa)
|
|
|
|
พลังงาน
|
1 ฟุต.เพลเดิ้ล (ft.pdl)
|
0.0421401 จูลย (J)
|
|
1 ฟุต.ปอนด (แรง) (ft.lbf)
|
1.35582 จูลย (J)
|
|
1 แคลอลี่ (cal)
|
4.1868 จูลย (J)
|
|
1 บีทียู (btu)
|
1055.06 จูลย (J)
|
|
|
778.1711 ฟุต.ปอนด (แรง) (ft.lbf)
|
|
|
|
กําลัง
|
1 แรงมา (hp)
|
745.7 วัตต (w)
|
|
|
550 ฟุต.ปอนด (แรง) (ft.lbf/s)
|
|
|
2549.424 บีทียู/ช.ม. (btu/hr)
|
|
|
|
อุณหภูมิ
|
1 องศาแรงคีน ( ํ R)
|
ํ F + 459.67 ํ
|
|
1 องศาฟาเรนไฮนซ ( ํ F)
|
ํ C + 32 ํ
|
|
1 องศาเคลวิน ( ํ K)
|
ํ C + 273.16 ํ
|
|
|
|
หน่วยเอสไอ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
ระบบหน่วยระหว่างประเทศ (International System of Units) หรือ ระบบเอสไอ (SI) คือ ระบบหน่วยมาตรฐานที่องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO หรือ International Organization for Standardization) กำหนดขึ้นให้ทุกประเทศใช้เป็นมาตรฐาน เพื่อให้การใช้หน่วยเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก โดยเฉพาะในวงการวิทยาศาสตร์
[แก้] หน่วยฐาน
หน่วยฐาน (Base units) เป็นหน่วยหลักของเอสไอ มีทั้งหมด 7 หน่วย
ชื่อหน่วย
|
สัญลักษณ์
|
ปริมาณ
|
นิยาม
|
กิโลกรัม
|
kg
|
มวล
|
หน่วยของมวลซึ่งเท่ากับมวลต้นแบบระหว่างชาติของกิโลกรัม (ทรงกระบอกแพลตินัม-อิริเดียม) เก็บไว้ที่ Bureau International des Poids et Mesures (BIPM), Sèvres, Paris (1st CGPM (1889), CR 34-38)
|
วินาที
|
s
|
เวลา
|
หน่วยของช่วงเวลา 9 192 631 770 เท่าของคาบการแผ่รังสีที่เกิดจากการเปลี่ยนสถานะระดับไฮเพอร์ไฟน์ของสถานะพื้นของอะตอมซีเซียม-133 ที่อุณหภูมิ 0 เคลวิน (13th CGPM (1967-1968) Resolution 1, CR 103)
|
เมตร
|
m
|
ความยาว
|
หน่วยของความยาวที่แสงเดินทางได้ในสุญญากาศ ในช่วงเวลา 1/299 792 458 วินาที (17th CGPM (1983) Resolution 1, CR 97)
|
แอมแปร์
|
A
|
กระแสไฟฟ้า
|
หน่วยของกระแสไฟฟ้าคงตัวซึ่งเมื่อให้อยู่ในตัวนำตรงและขนานกัน 2 เส้น ที่มีความยาวไม่จำกัดและมีพื้นที่หน้าตัดน้อยจนไม่ต้องคำนึงถึง และวางห่างกัน 1 เมตรในสุญญากาศแล้ว จะทำให้เกิดแรงระหว่างตัวนำทั้งสองเท่ากับ 2×10 −7 นิวตันต่อความยาว 1 เมตร (9th CGPM (1948) Resolution 7, CR 70)
|
เคลวิน
|
K
|
อุณหภูมิอุณหพลวัต
|
หน่วยของอุณหภูมิอุณหพลวัติ (หรืออุณหภูมิสัมบูรณ์) มีค่าเท่ากับ 1/273.16 ของอุณหภูมิอุณหพลวัติของจุดร่วมสามสถานะของน้ำ (13th CGPM (1967) Resolution 4, CR 104)
|
โมล
|
mol
|
ปริมาณของสาร
|
หน่วยของปริมาณของสารซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบมูลฐานที่มีจำนวนเท่ากับจำนวนของอะตอมคาร์บอน-12 ปริมาณ 0.012 กิโลกรัม (14th CGPM (1971) Resolution 3, CR 78) (องค์ประกอบมูลฐาน ซึ่งอาจเป็นอะตอม, โมเลกุล, ไอออน, อิเล็กตรอน, หรือ อนุภาค) มีค่าประมาณ 6.02214199×1023 หน่วย (เลขอาโวกาโดร)
|
แคนเดลา
|
cd
|
ความเข้มของการส่องสว่าง
|
หน่วยของความเข้มส่องสว่างในทิศที่กำหนดของแหล่งกำเนิดที่แผ่รังสีของแสงความถี่เดียวที่มีความถี่ 540×1012 เฮิรตซ์ และมีความเข้มของการแผ่รังสีในทิศทางนั้นเท่ากับ 1/683 วัตต์ต่อสตีเรเดียน (16th CGPM (1979) Resolution 3, CR 100)
|
|} == หน่วยอนุพันธ์ == หน่วยอนุพันธ์ (Derived units) เป็นหน่วยซึ่งมีหน่วยฐานหลายหน่วยมาเกี่ยวข้องกัน เช่น หน่วยของอัตราเร็วเป็น เมตรต่อวินาที ซึ่งมีเมตรและวินาที เป็นหน่วยฐาน หน่วยอนุพันธ์มีหลายหน่วยซึ่งมีชื่อและสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นโดยเฉพาะ
คำอุปสรรค หรือ คำนำหน้าหน่วย (prefix) ใช้นำหน้าหน่วย เพื่อทำให้หน่วยที่ใช้ เล็กลง หรือ โตขึ้น และแนะนำให้ใช้เป็นขั้นละ 1,000 เท่า
10n
|
คำอุปสรรค
|
สัญลักษณ์ย่อ
|
ตัวคูณที่เทียบเท่า
|
1024
|
ยอตตะ
|
Y
|
1 000 000 000 000 000 000 000 000
|
1021
|
เซตตะ
|
Z
|
1 000 000 000 000 000 000 000
|
1018
|
เอกซะ
|
E
|
1 000 000 000 000 000 000
|
1015
|
เพตะ
|
P
|
1 000 000 000 000 000
|
1012
|
เทระ
|
T
|
1 000 000 000 000
|
109
|
จิกะ
|
G
|
1 000 000 000
|
106
|
เมกะ
|
M
|
1 000 000
|
103
|
กิโล
|
k
|
1 000
|
102
|
เฮกโต
|
h
|
100
|
101
|
เดคา
|
da
|
10
|
10−1
|
เดซิ
|
d
|
0.1
|
10−2
|
เซนติ
|
c
|
0.01
|
10−3
|
มิลลิ
|
m
|
0.001
|
10−6
|
ไมโคร
|
µ
|
0.000 001
|
10−9
|
นาโน
|
n
|
0.000 000 001
|
10−12
|
พิโก
|
p
|
0.000 000 000 001
|
10−15
|
เฟมโต
|
f
|
0.000 000 000 000 001
|
10−18
|
อัตโต
|
a
|
0.000 000 000 000 000 001
|
10−21
|
เซปโต
|
z
|
0.000 000 000 000 000 000 001
|
10−24
|
ยอกโต
|
y
|
0.000 000 000 000 000 000 000 001
|