ReadyPlanet.com
dot
dot dot
dot
MAIN MENU
dot
bulletHome
bulletContact Us
bulletCompany Profile (Thai)
bulletCompany Profile (English)
dot
PARTNERSHIP
dot
bulletPartnership
dot
OUR SERVICES
dot
bulletOne Stop Conveyor Service
bulletBelt Splicing
bulletBelt Repair
bulletPulley lagging
bulletBelt Change Out
bulletCoveyor Preventive Maintenance
bulletInspection/ Commissioning
bulletVulcanizer Repair
bulletMaterial Handling Engineering Education Programs
dot
OUR PRODUCTS
dot
bulletRubber Belt Supply+PVC
bulletConveyor Accessories Supply
dot
TURN KEY CONVEYOR PROJECT
dot
bulletAEROBELT (Air Supported Belt) from South Africa
bulletConveyor Systems Supply
dot
PERFORMANCE GALLERY
dot
bulletBAN HOUAY XAI
bulletLAK SAO
bulletNPS ORANA
bulletPHU KHAM - CERAMIC LINING
bulletPHU KHAM - SPLICING
bulletREMA TIP TOP ( SRI LANKA PROJECT )
bulletTRAINING COURSE - NILOS
bulletTRAINING COURSE - TIP TOP
bulletCPAC
bulletAEROBELT
bulletTCB INSPECTION
bulletYALA GREEN POWER
bulletAGC-CULLET DISPOSAL
bulletได้รับรองมาตรฐานจาก EGAT
dot
CONVEYOR KNOWLEDGE STORE
dot
bulletBELT CLINIC
bulletConveyor Related Knowledge
bulletน้องใหม่อยากรู้
dot
TCB'S SERVICE INDUSTRIES
dot
bulletท่าเรือ / PORT
bulletอาหาร / FOOD
bulletเหล็ก / STEEL
bulletเหมืองแร่ / MINING
bulletปูนซีเมนต์ / CEMENT
bulletอุโมงค์ / UNDERGROUND
bulletโรงกระดาษ / PAPER PULP
bulletโรงไฟฟ้า / POWER PLANT
bulletปิโตเคมีกัล / PETROCHEMICAL
dot
STRATEGIC PARTNERS LINKS
dot
bulletRema Tip Top
dot
สมัครสมาชิก WE LOVE BELT

dot
dot
ความรู้ คู่สายพาน
dot
bullet1.Conveyor Belt Maintenance Product
bullet2.Belt Cleaner Systems
bullet3.Primary Belt Cleaners
bullet4.Secondary Belt Cleaners
bullet5.อุปกรณ์ ทำความสะอาด สายพาน ย้อนกลับ
bullet6.อย่างนี้มีหรือไม่ ! ระวังเรื่องใหญ่จะตามมา
bullet7.เสียดสี ขัดถู ตัด และเจาะ ป้องกันได้อย่างไร
bullet8.ประเภทของอุปกรณ์ปรับความตึง
bullet9.WHY MISALIGNMENT
bullet10.Discharging Area
bullet11.Preventive Maintenance
bullet12.ข้อดีของการทำ PM
bullet13.สูตรผีบอก หาความยาวของม้วนสวยพาน
bullet14.Take a Break
bullet15.รู้ไว้ ... ใช่ว่า
bullet16.พูลเลย์เล็ก – สายพานพัง – รอยต่อหลุดร่อน มันเกี่ยวกันอย่างไร
bullet17.Conveyor Adaptability to path of travel
bullet18.PULLEY LAGGING
bullet19.ประเภทของลูกกลิ้ง
bullet20.ประเภทของล้อขับ
bullet21.ลูกกลิ้งกับแรงม้า
bullet22.ลูกกลิ้งมีหน้าที่อะไร
bullet23.ผู้พิทักษ์ความสึกหรอของ Chute
bullet24.Rubber cover grade for oil service
bullet25.เลือกความหนาให้เหมาะสม
bullet26.สาเหตุและวิธีแก้สายพานส่าย
bullet27.สายพานเอียงข้างหนึ่งประจำ
bullet28.ข้อจำกัดของ Conveyor Belt
bullet29.ความตึงสายพานที่เหมาะสม
bullet30.คุณสมบัติพิเศษของผิวยาง
bullet31.แก้ไขสายพานเกเร
bullet32.วิธีการเลือกจำนวนชั้นผ้าใบ
bullet33.General Type of Idler
bullet34.Heat Resistance Belt
bullet35.การลาก ดึง ม้วนเก็บสายพาน
bullet36.อุณหภูมิที่เหมาะกับสายพาน
bullet37.สาเหตุที่รอยต่อหลุด
bullet38.ข้อดีของการต่อร้อน
bullet39.การต่อสายพาน
bullet40.Belt Splicing
bullet41.งานเปลี่ยนสายพาน
bullet42.Belt change out
bullet43.การเลือกสายพาน
bullet44.การเรียกชื่อสายพาน
bullet45.Belt Repair
bullet46.ระบบลำเลียงถ่านหิน 1
bullet47.ระบบลำเลียงถ่านหิน 2
bullet48.สายพานลำเลียงไฮ-เทค
bullet49.ไฟไหม้ สายพาน 1
bullet50.ไฟไหม้ สายพาน 2
bullet51.ไฟไหม้ สายพาน 3
bullet52.ไฟไหม้ สายพาน 4
bullet53.ศัพท์น่ารู้ 1
bullet54.ศัพท์น่ารู้ 2
bullet55.Belt Take Up
bullet56.ขั้นตอนการต่อสายพาน
bullet57.ป้องกันการเสียดสี
bullet58.สายพานลื่น
bullet59.สายพานตกท้องช้าง
bullet60.สายพานยืด
bullet61.ใครอยากได้ S-Belt มาทางนี้เร็ว
bullet62.ปัญหาของ S-Belt สาเหตุและการแก้ไข
bullet63.สายพานลำเลียงไฮ-เทค
bullet64.belt supply
bullet65.บริการสต๊อกสายพานสำหรับท่าน
bullet66.การระบุ SPEC เพื่อสั่งซื้อ Belt
bullet67.มืออาชีพของการต่อสายพาน
bullet68.Flexibelt
bullet69.Our Products
bullet70.กาว ยาง
bullet71.อยากเปลี่ยนสายพาน Steel cord เป็นสายพานผ้าใบได้หรือไม่
bullet72.ใครใช้สายพานทนร้อนต้อง...อ่านตรงนี้
bullet73.รอบรู้เรื่องสายพาน ในหน่วย SI และ METRIC
bullet74.ส่วนประกอบ Sidewall Belt
bullet75.Advent Age of Sidewall Belt
bullet76.การเลือก Sidewall และ Cleat
bullet77. เลือกสายพานชนิด Molded Edge หรือ Cut Edge ดี??!!
bullet78. ถูก แพง ให้ดูที่เกรดสายพาน
bullet79.เปลี่ยนกระพ้อปฏิบัติ 2 วันครึ่ง
bullet80.ใครอยากได้รายงานดีๆมาทางนี้
bullet81.มาดูรายงานต่อร้อนดีดีกันดีกว่า
bullet82.ไม่ต้องชั่ง ก็รู้น้ำหนัก (สายพาน)
bullet83.Pulley lagging
bullet84.เลือกเกรดสายพาน
bullet85.อุปกรณ์ขนถ่าย
bullet86.อุปกรณ์ขนถ่าย 2
bullet87.อุปกรณ์ขนถ่าย 3
bullet88.อุปกรณ์ขนถ่าย 4
bullet89.สายพานลำเลียงหินปูนย่อย
bullet90. สูตรการหาปริมาณการขนถ่าย
bullet91.ทนร้อน สุดๆ อีกแล้วครับท่าน !
bullet92.IMPACT BED
bullet93.มหัศจรรย์กาวเรซิน ELI-FLEX
bullet94.ติด-ปะ-ซ่อม สารพัด
bullet95.กระพ้อ...กำจัดจุดอ่อน...ที่รอยต่อ
bullet96.เลือกความหนาของสายพานอย่างไร ?
bullet97 ซ่อมยาง ลายดอก
bullet98.เชื้อเพลิงชีวมวล - ลูกกลิ้ง - สายพาน
bullet99.จ่ายเป็นล้าน "เพราะสายพานยืด"
bullet100.มาเล่น Sidewall Belt กันดีกว่า
bullet101.Conveyor ขนถ่ายวัสดุหลายชนิด-หลายขนาด
bullet102.เรื่องราวเกี่ยวกับ Ship loader
bullet103.PORTABLE CONVEYOR
bullet104.อุปกรณ์ทำความสะอาดช่วยประหยัดเงินได้แค่ไหน ?
bullet105.อุปกรณ์ทำความสะอาดสายพานกับพลังงานที่เพิ่มขึ้น
bullet106.ทำไมถึงจำเป็นต้องติดอุปกรณ์ทำความสะอาด
bullet107.ติดตั้งอุปกรณ์ทำความสะอาดสายพานดีไหม ?
bullet108.การติดตั้ง Pre-Cleaner (Pre – cleaner Installation)
bullet109.ใบปาด(ยาง)ยาง และ ใบปาด(เหล็ก) อย่างไหนดีกว่ากัน
bullet110.แรงกดที่ อุปกรณ์ทำความสะอาด ควรมีค่าเท่าใด?
bullet111.ชั้นผ้าใบ อะไรๆก็ EP เอ๊ะ ยังไงกันนี่
bullet112.วิธีการคลี่สายพานมาพับไว้ในที่แคบๆก่อนทำการลากดึง
bullet113.Case Study of Belt Splicing
bullet114.เหลือเชื่อ Motor Tip
bulletUNIONE
dot
ตัวอย่าง Report
dot


ตอนที่ 1 PULLEY LAGGING มีดีไฉน?!? article

 

หมอสายพาน” (Belt Doctor) – Service around conveyor belt  

 

ตอนที่ 1 PULLEY  LAGGING  มีดีไฉน?!?     

วันนี้ นาย TCB มาแปลก ตั้งชื่อเรื่องเพี้ยนๆไปหรือป่าว คิดได้งัย? ชื่อ หมอสายพาน อันที่จริง เรื่องที่จะรับใช้ต่อไปนี้ เป็นเรื่องที่สำคัญมาก เพราะเป็นเรื่องของการตรวจสุขภาพสายพานอย่างครบวงจร พร้อมทั้ง วินิจฉัยหาสาเหตุ และบอกวิธีแก้ไข บำรุงรักษา และป้องกัน ให้สุขภาพสายพานและระบบลำเลียงมีอายุยืนยาว มั่นคง แข็งแรง ไม่เจ็บป่วย เหมือนๆกับที่มนุษย์เราต้องตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อเป็นการป้องกัน โรคจะพอป้องกันได้ เอาไว้ก่อน ดีกว่าที่จะเสียชีวิตอย่างกะทันหัน โดยไม่ทราบสาเหตุ นาย TCB ตั้งใจตั้งใจจะเขียนเรื่องหมอสายพานสัก 10 กว่าตอน หรือบางตอนอาจจะขอรบกวนให้น้อง AV ช่วยกันเขียนช่วย เพื่อให้ชาวสายพานได้นำข้อมูลไปใช้ให้เป็นประโยชน์ มากที่สุด ช่วยเป็นกำลังใจให้นาย TCB เขียนจนสำเร็จลุล่วงด้วยนะครับ เอ๊าเชียร์กันหน่อยๆๆๆๆๆ    

  

                นาย TCB เคยรับใช้แฟนคลับในเรื่องก่อนๆที่ผ่านมาว่า สายพานลำเลียงเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของระบบสายพานลำเลียงที่มีราคาเป็นสัดส่วนที่สูง เมื่อเปรียบเทียบกับพาร์ทอื่นๆ ขณะที่พาร์ทอื่นๆมักจะทำด้วยวัสดุที่แข็ง มีขนาดใหญ่ หรือที่เรียกว่า Robust มีความคงทน และมีอายุการใช้งานที่ยาวนานกันทั้งนั้น แต่สายพานลำเลียงนั้น จะทำด้วย วัสดุที่เสียหายง่ายกว่าพาร์ทอื่นๆ แต่เหมือนฟ้าจงใจที่จะทำให้สายพาน (ซึ่งปกติก็เสียหายง่ายอยู่แล้ว) เสียหายเร็วขึ้นและระดับความเสียหายก็มีมากขึ้นกว่าเดิมขึ้นไปอีก ทั้งนี้ก็เพราะบุคลาการในส่วนที่รับผิดชอบการบำรุงรักษา มักขาดความรู้ในการดูแลบำรุงรักษา มักไม่ค่อยใส่ใจการดูแลตัวของสายพาน ตราบใดที่สายพานยังสามารถขนวัสดุได้ สายพานจะได้รับการดูแลน้อยมาก เปรียบได้กับคนรักของเรา เมื่อ่ใดที่เค้ายังไม่จากไป เรามักไม่รู้สึกถึงคุณค่า และมักจะละเลยเค้าเสมอๆ เมื่อเค้าจากไปจริงๆเมื่อไหร่ เมื่อนั้นแหละจะรู้สึกเสียดายและสูญเสีย เช่นเดียวกัน เมื่อไหร่ที่สายพานขาด นาย   TCB และทีมงานมักจะได้รับการร้องขอ (และขู่เข็ญ) ให้รีบไปบริการอย่างเร่งด่วน มิวายว่าจะเป็นเวลาดึกดื่นเที่ยงคืนแค่ไหนก็ตาม แต่ทีมงานก็ยินดีให้บริการด้วยความเต็มใจนะครับ วันนี้ท่านดูแลสายพานของท่านดีแล้วหรือยัง ????    

                                                                                                                                                                

  

                    ถ้าจะว่ากันไป การที่ท่านไม่ทะนุถนอม บำรุงรักษา สายพานลำเลียงของท่านให้ดีนั้น ท่านมีโอกาสสูญเสียทรัพย์อย่างง่ายเห็นๆ  และอาจจะพาลทำความเสียหายแก่ธุรกิจของท่านก็ได้ ในมุมมองของผู้ให้บริการอย่างนาย TCB แล้ว คงจะชอบใจมากทีเดียว หากสายพานของท่านมีปัญหา เพราะนาย TCB จะเป็นผู้รับทรัพย์ของท่านอย่างแน่นอน แต่....ช้าก่อน นั่นไม่ใช่วิสัยของการทำธุรกิจของคนรักสายพานอย่างชาว TCB                            

                                                                                                                     

               ปณิธารของชาว TCB ทุกคนมีจุดมุ่งหมายให้ ท่านที่รักสายพานลำเลียงทั้งหลาย มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบสายพานลำเลียงที่ถูกต้อง สามารถบำรุงรักษาและวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น ด้วยตัวเองได้เ ราเชื่อว่าหากท่านติดตามความรู้ใน websiteนี้ อย่างสม่ำเสมอท่านจะมีความรู้เพียงพอที่จะสามารถแก้ปัญหาส่วนใหญ่ 70-80% ให้ลุล่วงไปได้ส่วนที่เหลือ ยังสามารถรับการบริการรักษากับ TCB ได้เสมอ เพราะเราอยู่ในสังคมเดียวกัน ก็ต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ช่วยเท่าที่จะทำได้ใน ที่สุดแล้ว การให้ความรู้หรือนำความรู้มาแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน จะสร้างความรู้สึกผูกพันกันได้ แม้ว่าทั้งสองฝ่ายจะไม่เคยเห็นหน้าตากันเลยก็ตาม และชาว TCB เชื่อว่า หากงานชิ้นไหนที่เกินกำลังที่ท่านจะจัดการเองได้ท่าน ต้องนึกถึงสายพานไทยและเชื่อว่า ท่านต้องให้โอกาสชาว TCB ได้รับใช้ท่านก่อนคนอื่น อย่างแน่นอนเมื่อตรงนั้นมาถึง  ชาว TCB ยินดีรับใช้และให้บริการอย่างเต็มที่ครับ                        

  

เริ่มเข้าเนื้อหาสาระกันดีกว่านะครับ อยากให้ท่านผู้อ่าน ลองขยับสายตาของท่านไปยังรูปข้างบนที่ลงไว้หน่อยนะครับ ให้โฟกัสไปตรงหมายเลข 1 ที่ชี้ตรงล้อขับ (Drive   

Pulley) ที่ต้องให้ท่านจ้องดูส่วนนี้ให้ดีก็เพราะว่า นาย TCB ต้องการให้ท่านจินตนาการเสียก่อนว่า ที่บริเวณล้อขับ (Drive Pulley) มันมีกิจกรรมอะไรที่เกิดขึ้นที่จะมีผลทำให้ระบบสายพานลำเลียง สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดค่าบำรุงรักษาได้บ้าง  เมื่อสายพานวิ่งโดย ไม่มียางหุ้ม (Lagging) drive pulley ที่ เปรียบเทียบกับการขับรถยนต์ในขณะที่ยางหัวโล้น(ไม่มีดอกยาง) ความเหมือนกันทั้งสองกรณีคือ ทั้งคู่กำลังทำงาน (Operate) ภายใต้การสูญเสียแรงยึดเกาะหรือแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชนิด การสูญเสียแรงเสียดทานระหว่างยางหัวโล้นกับพื้นถนนทำให้ท่าน ควบคุมรถด้วยความยากลำบากและต้องใช้พลังงานในการห้ามล้อ (เบรก) มากขึ้นซึ่งผู้ขับขี่ต้องตกอยู่ในภาวการณ์เสี่ยงที่จะเกิดอันตรายได้ ในส่วนของสายพานนั้น ความสูญเสียอาจจะสลับซับซ้อนมากกว่า มาดูกันว่า มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้ล้อขับสามารถส่งถ่ายแรงพาสายพานบรรทุกที่วัสดุให้เคลื่อนที่ไปยังจุดหมายที่ต้องการได้อย่างประสิทธิภาพ  

   

                อันดับแรก สายพานจะเคลื่อนที่ได้ สายพานต้องมีความตึง (Tension) ที่พอเหมาะที่จะขับเคลื่อนน้ำหนักบรรทุกบนสายพาความตึงนี้จะเกิดขึ้นมาจากแรงเสียดทาน (Friction) ระหว่างผิวล้อขับ (Drive Pulley) กับผิวสายพาน ถ้าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน (Co-efficient of friction) ระหว่างผิวสายพานและผิวของ Pulley มีน้อยเกินไป แรงฉุดก็จะไม่เพียงพอให้สายพานเคลื่อนที่ได้ สิ่งที่ท่านต้องทำต่อไป เพื่อให้สายพานเคลื่อนที่ก็คือ ท่านก็ต้องไปโม (Modify) ระบบสายพานให้มีมุมโอบ (Wrap angle) ระหว่าง Pulley และสายพาน ให้มากขึ้นเพื่อเพิ่มค่าของแรงเสียดทาน ให้มีมากจนสามารถฉุดสายพานเคลื่อนที่ได้ อย่างไรก็ตามการโม (Modify) ระบบ  

    

  

                

เพื่อให้มีมุมโอบที่เพิ่มขึ้น ก็เป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยาก และไม่คุ้มค่าที่จะทำเพราะเสียเวลา และราคาแพงเมื่อเปรียบเทียบกับประสิทธิภาพที่ได้รับเพิ่มขึ้นเพียงน้อยนิด ดังนั้นเพื่อให้แฟนคลับของเราสามารถใช้เงินให้เป็นประโยชน์ได้มากที่สุด นาย TCB ก็เลยอยากจะแนะนำวิธีการง่ายๆที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของแรงเสียดทานระหว่างผิวของ Pulley และสายพานก็คือ ต้องหุ้ม Pulley ด้วยยาง หรือวัสดุที่เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน ตามสภาพแวดล้อมของโรงงานของท่านนั่นเอง เพราะสัมประสิทธ์ความเสียดทาน (Co-efficient of friction) ระหว่างผิวยางกับผิวยาง (ผิวยางที่หุ้ม Pulley กับผิวยางของสายพาน) มีมากกว่าระหว่างผิวยางกับโลหะ (ผิวยางของสายพานกับผิวโลหะของ Pulley ) ดังนั้น การหุ้ม Pulley ด้วยยางจึงเป็นการเพิ่มแรงฉุด ที่จะฉุดสายพานให้เคลื่อนที่ไปได้โดยไม่ลื่น ซึ่งทำได้ง่ายและเสียค่าใช้จ่ายน้อย ในขณะที่ไม่ต้องไปโม (Modify) ระบบเพื่อเพิ่มมุมโอบ (Wrap angle) เลยก็ได้   

 

ส่วนผลสืบเนื่องของประโยชน์ที่ตามมาจากการหุ้ม Pulley ก็จะมีหลายอย่าง ดังนี้  

1.      ป้องกันสายพานลื่น (Slip) และลดการสึกหรอของผิว Pulley และผิวของสายพาน ตามบทความที่แล้วมา (ลองอ่านดูใน Web นั้นแหละ) ท่านคงทราบแล้วว่า การเกิดสภาพที่สายพานลื่นนั้น นอกจากจะทำให้ล้อขับและสายพานเสียหายแล้ว ยังคงมีผลกระทบต่อภาคการผลิต เพราะหากสายพานหรือ Pulley เสียหายก็ต้องเสียเวลาในการซ่อมแซม เพื่อให้ใช้การได้ดีเหมือนเดิม ดังนั้น การหุ้ม Pulley จึงเป็นมาตรการป้องกันที่จะลด สาเหตุของการ Down time ทั้งหลายแหล่ รวมทั้งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือ (Reliability) และความมั่นคงให้กับระบบการผลิตด้วย   

2.   ป้องกันวัสดุติด (Material build-up) และลดสาเหตุของสายพานวิ่งไม่ตรงแนว (Belt Mist racking) ผิว Pulley ที่ไม่ได้หุ้มยาง ส่วนมากมักทำด้วยโลหะ ซึ่ง วัสดุบรรทุกมีความชื้นหรือมีความหนืด ก็ชอบเหลือเกินที่จะมาติดผิวโลหะเพราะมันติดง่ายและติดได้นาน เมื่อติดมากขึ้นๆ มันก็จะทำให้ผิวภายนอกของ Pulley ขรุขระไม่ได้เป็นรูปทรงกระบอกอีกต่อไปแล้ว สายพานที่วิ่งอยู่บน Pulley (ที่มีรูปทรงที่ผิดปกติ) ก็ต้องวิ่งไปตาม Profile ที่ขรุขระนั้นแน่นอนที่สุดสายพานก็ต้องวิ่งส่ายไปมา ขอบข้างของสายพานหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ต้องวิ่ง ไปกระแทกโครงสร้าง ทำให้ขอบสายพานขาดและเสียหายได้  ดังนั้นการหุ้มยางที่ Pulley นอกจากจะช่วยลดการติดสะสมของวัสดุบน Pulley ได้ ยังทำให้แนวสายพานวิ่งตรงกลาง(Center) การขนถ่ายวัสดุก็จะมีประสิทธิภาพ นอกจากท่านจะไม่โดนเจ้านายดุแล้วท่านยังมีส่วนช่วยยืดอายุการใช้งานของสายพานได้ยาวนานขึ้นอีกด้วย พออ้างเป็นสาเหตุของการขอโบนัสเพิ่มได้มั้ยเนี่ย ???   

         ก่อนจะจบเรื่องนี้ นาย TCB อยากจะขอฝากค่า CO-efficient of friction ให้แฟนคลับได้พิจารณากันว่าผิวของ drive pulley ที่เป็นเหล็ก กับผิว drive pulley ที่หุ้มด้วยยางนั้นที่ค่า    co-efficient ต่างกันมากแค่ไหน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสิ่งแวดล้อมที่มีน้ำหรือมีความเปียกชื้น การหุ้ม pulley ด้วยยางจะให้ค่าสัมประสิทธิ์ ความผิดมากกว่าผิว pulley ที่เป็นเหล็กเปลือยๆ ถึง 3.5 เท่าทีเดียว แต่ถ้าอยู่ในสภาพแห้งๆ แล้วการหุ้ม pulley จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพไม่มากนัก คือเพิ่มสูงขึ้นได้ประมาณ 12.5 % เท่านั้นเอง อนึ่ง co-efficient of friction ที่นาย TCB ได้นำเสนอนี้ เป็นของสำนัก  continental สำนักอื่นๆ ก็คงใช้ค่าที่ไม่แตกต่างกันมากนักหรอก   

   

แฟนคลับท่านใดมีข้อมูลเพิ่มเติมช่วยส่งมาแชร์ความรู้กันด้วยนะครับ    

     ถ้ามีโอกาสนาย TCB จะมาเล่าถึงวิธีการหุ้ม Pulley ชนิดของการหุ้มและวัสดุที่เหมาะสมสำหรับการหุ้ม Pulley ในแต่ละสิ่งแวดล้อมและอื่นๆ อีก ขณะนี้เวลา 14: 25 . ของวันที่ 7 พฤษภาคม 2550 พอดีนาย TCB มีโทรศัพท์จากลูกค้าให้ช่วยเสนอราคาการหุ้ม Pulley  นาย TCB จึงต้องขอตัวหาสตังค์ใช้ก่อนนะครับ ถ้านาย TCB ไม่มีสะตังค์ ก็คงไม่มีโอกาสมานั่งเล่าเรื่องดีๆที่มีประโยชน์ให้พี่ๆน้องๆแฟนคลับชาวสายพานได้รู้กัน ถ้าหากพี่ๆน้องๆต้องการให้นาย TCB รับใช้เรื่องอะไรก็ขอเชิญติดต่อกับชาว TCB ตามที่อยู่ด้านล่างเลยนะครับ   

  

การหุ้ม pulley  

 

 

 

 

 

 

                       

                                          ภาพที่ 1.3                                   

          ภาพที่ 1.4

 

 ลาก่อนแล้วค่อยพบกับหมอ...สายพานในภาค 2 ต่อไป สวัสดีครับ

 

     

 “...เลือกสายพานไทยไว้ดูและระบบสายพานลำเลียงของท่าน เพราะด้วยอุดมการณ์ที่ยึดมั่นในอุดมการณ์

 

 

 

 และของทีมงาน ท่านจะวางใจได้ว่าระบบของท่านจะไม่สะดุด เพราะสายพานหยุดเดิน...

   

 

 หรือติดต่อ.......



ชื่อ
เบอร์โทรศัพท์
อีเมล
หัวข้อ
รายละเอียด




มีปัญหาระบบสายพานลำเลียง Belt Clinic ช่วยท่านได้

Material Handling Engineering Education Programs article
Conveyor Belt Maintenance Training Programs article
NO BODY BUT YOU >>> (PORTABLE CONVEYOR) article
ใครใช้สายพานทนร้อนต้อง...อ่านตรงนี้ article
วิธีการเลือกจำนวนชั้นผ้าใบ article
อุณหภูมิที่เหมาะกับสายพาน article
ทำไมสายพานวิ่งไม่ตรงแนว?(WHY MISALIGNMENT) article
รู้ไว้ ... ใช่ว่า article
เหนื่อยนักก็พักหน่อย (Take a Break) article
อย่างนี้มีหรือไม่ ! ระวังเรื่องใหญ่จะตามมา article
สายพานลื่น (Belt Slip) แก้ไขอย่างไรดี...? article
สาเหตุและวิธีแก้ไขอาการสายพานส่าย ( MISALIGNMENT CAUSES AND CURES ) article
สูตรผีบอก จะหาความยาวของในม้วนสายพาน article
เสียดสี (abrasion) ขัดถู (Rub) ตัด (cut)และเจาะ (gouge) ป้องกันได้อย่างไร??? article
ประเภทของอุปกรณ์ปรับความตึง (Belt Take-Up CY) article
สายพานลำเลียง คุณทราบไหมว่าลูกกลิ้ง (Roller , Idler) มีหน้าที่อะไร article
พูลเลย์เล็ก – สายพานพัง – รอยต่อหลุดร่อน มันเกี่ยวกันอย่างไร article
ควรรู้เรื่องอะไรบ้าง ณ จุดปล่อยวัสดุ (Discharging Area) article
สายพานยืด (Belt Stretch) article
เมื่อสายพานเดินเอียงไปข้างหนึ่งเป็นประจำ (BELT RUN OFF AT A CERTAINPOINT) article
ตอนที่ 2 ผู้พิทักษ์ความสึกหรอ...ของ Chute article
สายพานตกท้องช้าง ( Belt Sag ) article
สายพานเกเรแล้วจะแก้ไขอย่างไร (Belt behaviour on the conveyor) article
การลาก ดึง ม้วนเก็บสายพาน article
ทุกเรื่องสายพาน เรามีคำตอบ article
อยากเปลี่ยนสายพาน Steel cord เป็นสายพานผ้าใบได้หรือไม่ article
มาเลือกความหนาของสายพานให้เหมาะสมกันดีกว่า article
ยางที่ใช้ทำสายพานลำเลียงสามารถต้านทานน้ำมันได้แค่ไหน article



Contact Address:599/10-11b M.4,T.Surasak,A.Siracha,Chonburi 20110 Office Tel+66(3)831-0851 E-Mail tcb@thaiconveyorbelt.com